ก่อนอื่น เรามาดูกันว่า ‘สังคมผู้สูงอายุ’ คืออะไร?
จากโครงสร้างประชากรที่เปลี่ยนไป ชีวิตของผู้สูงวัยไทยในวันนี้และวันหน้าจะเป็นอย่างไร คนไทยและสังคมไทยเตรียมความพร้อมไว้แค่ไหน อะไรคือสิ่งที่ทุกฝ่ายควรเตรียมความคิดและลงมือทำ รองศาสตราจารย์ ดร.นพพล วิทย์วรพงศ์ คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันและอนาคตในมุม “เศรษฐศาสตร์” เพื่อให้ทุกฝ่ายทั้งภาคประชาชน เอกชน และรัฐ เตรียมการรับมือผลกระทบที่กำลังเกิดขึ้น เพื่อสร้างความสุขและคุณภาพชีวิตในบั้นปลายของทุกคนที่กำลังจะเป็นผู้สูงวัยในวันหน้า
การศึกษา หลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประชากรศาสตร์ประยุกต์และการวิจัยทางสังคม (หลักสูตรนานาชาติ)
ทำไมชาวอิสราเอลถึงประท้วงต่อต้าน 'เบนจามิน เนทันยาฮู' และสถานการณ์ต่อไปจะเป็นอย่างไร สังคมผู้สูงอายุ ?
โครงสร้างประชากรที่เปลี่ยนไป โดยจำนวนเด็กและแรงงานจะลดลงอย่างต่อเนื่อง พร้อมกับจำนวนประชากรสูงอายุที่เพิ่มขึ้นอย่างมาก ประกอบกับปัญหาโดยรวมของไทย คือ คนส่วนใหญ่มีเงินไม่เพียงพอในการเกษียณและใช้จ่ายในช่วงบั้นปลายชีวิต รวมทั้งยังไม่มีการเตรียมความพร้อม ทำให้ประเทศต้องเพิ่มงบประมาณเพื่อดูแลกลุ่มนี้
ผลงานเผยแพร่ บทความตีพิมพ์ในวารสาร
แนวโน้มไลฟ์สไตล์ผู้สูงวัย เปรียบเทียบการศึกษาบริบทสังคมไทยและจีน
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและสังคม (หลักสูตรไทย)
การมีบุตรรับประกันความสุขในบั้นปลายชีวิต?
โครงการแนวทางฟื้นฟูและพัฒนาภูมิปัญญาการใช้สมุนไพรเพื่อการดูแลสุขภาพและสร้างรายได้เสริมของกลุ่มผู้สูงอายุบ้านปลักปรือ จ.ปัตตานี
เจ้าหน้าที่ฝ่ายสนับสนุน เลขานุการสถาบันฯ
ผลการศึกษาในประเทศที่พัฒนาแล้วพบว่า การมีบุตรหรือไม่มี ไม่ได้สัมพันธ์กับความสุขในชีวิตผู้สูงวัยแต่อย่างใด เนื่องจากทัศนะเรื่องการมีบุตรยังถือเรื่องความพอใจส่วนบุคคล ตรงข้ามกับประเทศกำลังพัฒนา (ประเทศรายได้ต่ำ-ปานกลาง) ที่เผยว่าการมีบุตรเกี่ยวโยงกับระดับความสุขของคนสูงวัย
ทางออกวิกฤตราคาโกโก้ไทย “ศูนย์นวัตกรรมการวิจัยและพัฒนาโกโก้ไทยเพื่อความยั่งยืน จุฬาฯ” เติมหวังให้เกษตรกรและธุรกิจโกโก้ไทย
ดังนั้น สิ่งที่ภาครัฐควรเร่งดำเนินการอย่างเร่งด่วน เพื่อเตรียมความพร้อมรับสังคมสูงวัยระดับสุดยอด ได้แก่